Diary Note No.2
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาเเบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
( Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood )
อารจารย์ผู้สอน อ.กฤต แจ่มถิน
ประจำวัน พุธที่ 27 มกราคม 2559
เรียนครั้งที่ 2 เวลา 08.30 -12.30 น.
กลุ่ม 102 ห้อง 224
Learning Content (เนื้อหาการเรียนรู้)
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
1. กลุ่มเด็กที่มีลักษะทางความสามารถสูง
เด็กปัญญาเลิศ
ลักษณะของเด็กปัญญาเลิศ
- พัฒนาการทางร่างกายและจิตใจสูงกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
- เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย
- อยากรู้อยากเห็นอย่างจริงจัง ชอบซักถาม
- มีเหตุผลในการแก้ปัญหา การใช้สามัญสำนึก
- จดจำได้รวดเร็วแม่นยำ
เด็กฉลาด
- ตอบคำถาม
- สนใจเรื่องที่ครูสนอ
- ชอบอยู่กับเด็กอายุเท่ากัน
- ความจำดี
Gifted
- ตั้งคำถาม
- เรียนรู้สิ่งที่สนใจ
- ชอบอยู่กับผู้ใหญ่หรือเด็กที่โตกว่า
- อยากรู้อยากเห็น ชอบคาดคะเน
- เบื่อง่าย
- ชอบเล่า
- ติเตียนผลงานของตน
2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
- เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
- เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
- เด็กที่บกพร่องทางการเห็น
- เด็กที่บกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
- เด็กที่บกพร่องทางการพูดและภาษา
- เด็กที่บกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
- เด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้
- เด็กออทิสตก
- เด็กพิการซ้อน
เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา (Children with Intellectual Disabilities)
หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญาหรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเมื่อเทียบเด็กในระดับอายุเดียวกัน มี 2 กลุ่ม คือ เด็กเรียนช้า และ เด็กปัญญาอ่อน
เด็กเรียนช้า
- สามารถเรียนในชั้นเรียนปกติได้
- เด็กที่มีความสามารถในการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ
- ขาดทักษะในการเรียนรู้
- มีความบกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย
- มีระดับสติปัญญา (IQ) ประมาณ 71-90
สาเหตุของการเรียนช้า
1. ภายนอก
- เศรษฐกิจของครอบครัว
- การสร้างเสริมประสบการณ์ให้แก่เด็ก
- สภาะวะทางด้านอารณ์ของคนในครอบครัว
- การเข้าเรียนไม่สม่ำเสมอ
- วิธีการสอนไม่มีประสิทธิภาพ
2. ภายใน
- พัฒนาการช้า
- การเจ็บป่วย
เด็กปัญญาอ่อน
- ระดับสติปัญญาต่ำ
- พัฒนาการล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย
- มีพฤติกรรมการปรับตนบกพร่อง
- อาการแสดงก่อนอายุ 18
เด็กปัญญาอ่อน แบ่งตามระดับสติปัญญา (IQ) ได้ 4 กลุ่ม
1.เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนักมาก IQ ต่ำกว่า 20
2. เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนัก IQ 20-34 C.M.R
3. เด็กปัญญาอ่อนขนาดปานกลาง IQ 35-49 T.M.R
4. เด็กปัญญาอ่อนขนาดน้อย IQ 50-70 E.M.R
ลักษณะของเด็กปัญญาเลิศ
- พัฒนาการทางร่างกายและจิตใจสูงกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
- เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย
- อยากรู้อยากเห็นอย่างจริงจัง ชอบซักถาม
- มีเหตุผลในการแก้ปัญหา การใช้สามัญสำนึก
- จดจำได้รวดเร็วแม่นยำ
เด็กฉลาด
- ตอบคำถาม
- สนใจเรื่องที่ครูสนอ
- ชอบอยู่กับเด็กอายุเท่ากัน
- ความจำดี
Gifted
- ตั้งคำถาม
- เรียนรู้สิ่งที่สนใจ
- ชอบอยู่กับผู้ใหญ่หรือเด็กที่โตกว่า
- อยากรู้อยากเห็น ชอบคาดคะเน
- เบื่อง่าย
- ชอบเล่า
- ติเตียนผลงานของตน
2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
- เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
- เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
- เด็กที่บกพร่องทางการเห็น
- เด็กที่บกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
- เด็กที่บกพร่องทางการพูดและภาษา
- เด็กที่บกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
- เด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้
- เด็กออทิสตก
- เด็กพิการซ้อน
เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา (Children with Intellectual Disabilities)
หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญาหรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเมื่อเทียบเด็กในระดับอายุเดียวกัน มี 2 กลุ่ม คือ เด็กเรียนช้า และ เด็กปัญญาอ่อน
เด็กเรียนช้า
- สามารถเรียนในชั้นเรียนปกติได้
- เด็กที่มีความสามารถในการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ
- ขาดทักษะในการเรียนรู้
- มีความบกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย
- มีระดับสติปัญญา (IQ) ประมาณ 71-90
สาเหตุของการเรียนช้า
1. ภายนอก
- เศรษฐกิจของครอบครัว
- การสร้างเสริมประสบการณ์ให้แก่เด็ก
- สภาะวะทางด้านอารณ์ของคนในครอบครัว
- การเข้าเรียนไม่สม่ำเสมอ
- วิธีการสอนไม่มีประสิทธิภาพ
2. ภายใน
- พัฒนาการช้า
- การเจ็บป่วย
เด็กปัญญาอ่อน
- ระดับสติปัญญาต่ำ
- พัฒนาการล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย
- มีพฤติกรรมการปรับตนบกพร่อง
- อาการแสดงก่อนอายุ 18
เด็กปัญญาอ่อน แบ่งตามระดับสติปัญญา (IQ) ได้ 4 กลุ่ม
1.เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนักมาก IQ ต่ำกว่า 20
2. เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนัก IQ 20-34 C.M.R
3. เด็กปัญญาอ่อนขนาดปานกลาง IQ 35-49 T.M.R
4. เด็กปัญญาอ่อนขนาดน้อย IQ 50-70 E.M.R
ดาวน์ซินโดรม Down Syndrome
สาเหตุ
- ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 21
- ที่พบบ่อยคือโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง (Trisomy 21 )
อาการ
- ศีรษะเล็กและเบน คอสั้น
- หน้าแบน ดั้งจมูกแบน
- ตาเฉียงขึ้น ปากเล็ก
เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่อง หรือสูญเสียการได้ยิน เป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่าง ๆ ได้ไม่ชัดเจน มี 2 ประเภท คือ เด็กหูตึง และ เด็กหูหนวก
เด็กหูตึง หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยิน แต่สามารถรับข้อมูลได้ โดยใช้
เครื่องช่วยฟัง จำแนกกลุ่มย่อยได้ 4 กลุ่ม
1. เด็กหูตึงระดับน้อย ได้ยินตั้งแต่ 26-40 dB
เด็กจะมีปัญหาในการรับฟังเสียงเบา ๆ เช่น เสียงกระซิบหรือเสียงที่ไกล ๆ
2. เด็กหูตึงระดับปานกลาง ได้ยินตั้งแต่ 41-55 dB
3. เด็กหูตึงระดับมาก ได้ยินตั้งแต่ 56-70 dB
4. เด็กหูตึงระดับรุนแรง ได้ยินตั้งแต่ 71-90 dB
เด็กหูหนวก
- เด็กที่สูญเสียการได้ยินมากถึงขนาดที่ทำให้หมดโอกาสที่จะเข้าใจภาษาพูดจากการได้ยิน
- เครื่องช่วยฟังไม่สามารถช่วยได้
- ไม่สามารถเข้าใจหรือใช้ภาษาพูดได้
- ระดับการได้ยินตั้งแต่ 91 dB ขึ้นไป
ลักษะของเด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
- ไม่ตอบสนองเสียงพูด เสียงดนตรี มักตะแคงหูฟัง
- ไม่พูด มักแสดงท่าทาง
- พูดไม่ถูกหลักไวยากรณ์
- พูด้วยเสียงแปลก มักเปล่งเสียงสูง
เด็กที่บกพร่องทางการเห็น
จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ เด็กตาบอด และ เด็กตาบอดไม่สนิท
เด็กตาบอด
- เด็กที่ไม่สามารถมองเห็นได้เลย หรือมองเห็นบ้าง
- ต้องใช้ประสาทสัมผัสอื่นในการเรียนรู้
เด็กตาบอดไม่สนิท
- เด็กที่มีความบกพร่องทางสายตา
- สามารถมองเห็นบ้างแต่ไม่เท่ากับเด็กปกติ
ประโยชน์ที่ได้รับ
ได้รู้ในความรูใหม่ที่เราไม่เคยรู้และยังเป็นการปรับตัวเพื่อนำเอาความรู้ไปปรับใช้เมื่อเจอเหตุการณ์หรือเด็กในกลุ่มอาการแบบนี้จริงๆ
การประเมินผลเพื่อน
เพื่อนๆทุกคนตั้งใจเรียนแม้จะมีคุยกันบ้างแต่มันคือเรื่องที่ปกติไปแล้วแต่ถึงแม้จะมีคุยกันบ้างแต่ทุกคนก็มีความตั้งใจในการเรียนค่ะ
การประเมินผลครู
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น